Page 9 - คู่มือรับนักศึกษาใหม่ 64
P. 9

9.  วิศวกรรมธรณี  ศึกษาเกี่ยวกับการน�าองค์ความรู้ทางธรณีวิทยาและวิศวกรรม      14.  วิศวกรรมโยธา ศึกษาเกี่ยวกับการส�ารวจ วิเคราะห์ และออกแบบ อาคาร
 มาประยุกต์ใช้ในงานส�ารวจ ประเมินและออกแบบโครงสร้างทางวิศวกรรม ควบคุมสายงาน  สิ่งปลูกสร้างประเภทต่าง ๆ เช่น อาคารพักอาศัย อาคารสูง และระบบสาธารณูปโภค เช่น
 ด้านวิศวกรรมฐานรากบนหิน ฐานรากเขื่อนและอ่างเก็บน�้า การขุดเจาะเหมืองแร่บนดินและ  ถนน สะพาน ทางยกระดับ ประปา เขื่อน อ่างเก็บน�้า เป็นต้น แบ่งการศึกษาของวิศวกรรม
 ใต้ดิน ความลาดชันมวลหิน อุโมงค์ในมวลหิน วิศวกรรมน�้าใต้ดิน การส�ารวจและขุดเจาะน�้ามัน  โยธาออกเป็น วิศวกรรมส�ารวจ วิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมธรณีเทคนิค วิศวกรรมแหล่งน�้า
 และก๊าซธรรมชาติ การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและธรณีพิบัติ  วิศวกรรมขนส่ง และวิศวกรรมบริหารงานก่อสร้าง โดยค�านึงถึงการใช้ทรัพยากรให้เกิด
    10.  วิศวกรรมปิโตรเลียมและเทคโนโลยีธรณี  ศึกษาเกี่ยวกับพื้นฐานทาง  ประโยชน์และปลอดภัยมากที่สุด มีผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมน้อยที่สุด
 ธรณีวิทยา วิศวกรรมปิโตรเลียม การส�ารวจ การขุดเจาะและผลิตปิโตรเลียม การวิเคราะห์     15.  วิศวกรรมโลหการ เป็นสาขาวิชาที่ได้รับการออกแบบหลักสูตรเพื่อสร้างวิศวกร
 ปริมาณส�ารองและศักยภาพเชิงเศรษฐศาสตร์ รวมถึงการตรวจสอบ ออกแบบ และพัฒนา  ที่สามารถตอบสนองให้กับอุตสาหกรรมที่หลากหลาย ตั้งแต่อุตสาหกรรมพื้นฐานที่เป็นรากฐาน
 เครื่องมือและอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการส�ารวจและผลิตปิโตรเลียม เพื่อ  ของการพัฒนาประเทศ ไปจนถึงอุตสหกรรมปลายน�้าที่ผลิตผลิตภัณฑ์ส�าเร็จรูปพร้อมใช้
 น�ามาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการพัฒนา และการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ  รวมไปถึงการเป็นวิศวกรที่สามารถสร้างธุรกิจของตนเองได้ ลักษณะงานของวิศวกรโลหการ
 สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะปิโตรเลียม แร่ธาตุ น�้าบาดาล และงานทางวิศวกรรมต่าง ๆ  มีทั้งที่เกี่ยวกับการแปรสภาพจากสินแร่ให้เป็นโลหะ การน�าโลหะไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์
    11.  วิศวกรรมพอลิเมอร์  เป็นศาสตร์เฉพาะทางของวิศวกรรมวัสดุ เน้นการน�าองค์  การปรับปรุงสมบัติเพื่อการผลิตและพัฒนาผลิตภัณฑ์โลหะ รวมถึงการควบคุมคุณภาพ
 ความรู้ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ของวัสดุพอลิเมอร์ ทั้งที่เป็นพลาสติกและอิลาสโตเมอร์ (ยาง)   หลักสูตรเน้นให้วิศวกรโลหการมีความรู้ใน 15 หมวดวิชาชีพหลัก อันได้แก่ 1) การแต่งแร่
 ไปท�าให้เป็นผลิตภัณฑ์ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนอากาศยาน บรรจุภัณฑ์   2) การผลิตโลหะและน�ากลับมาใช้ใหม่ 3) การขึ้นรูปร้อน 4) การขึ้นรูปเย็น 5) การอบชุบความร้อน
 ฉลาด วัสดุงานก่อสร้าง วัสดุอุปกรณ์ทางการแพทย์ อุปกรณ์งานไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์    6) เทคโนโลยีการหล่อโลหะ 7) เทคโนโลยีการจับยึด เชื่อมต่อและบัดกรี 8) การกัดกร่อน
 แผ่นฟิล์มทางงานเกษตรอัจฉริยะ โดยในกระบวนการผลิตผลิตภัณฑ์จากวัสดุพอลิเมอร์นั้น    และการป้องกัน 9) โลหวิทยาของเหล็กและโลหะนอกกลุ่มเหล็ก 10) โลหวิทยาของโลหะ
 ต้องค�านึงถึงกระบวนการผลิตที่มีประสิทธิภาพและลดการใช้พลังงาน ผลิตภัณฑ์มีความแข็งแรง   ต้านการกัดกร่อนและทนความร้อนสูง 11) การบ่งลักษณะเฉพาะของวัสดุ 12) การวิเคราะห์
 ตอบโจทย์การใช้งาน มีน�้าหนักเบา และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์   การวิบัติและการเสื่อมสภาพของโลหะ 13) กระบวนการปรับปรุงผิวและเคลือบผิวโลหะ
 สาขาวิชาวิศวกรรมพอลิเมอร์ เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นผลิตบัณฑิตส�าหรับอุตสาหกรรมเป้าหมาย   14) กระบวนการโลหวิทยาโลหะผง 15) กระบวนการผลิตด้วยการเติมเนื้อวัสดุ
 10 อุตสาหกรรมที่เป็นฟันเฟืองการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศในสองทศวรรษหน้า      16.  วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม เป็นการบูรณาการของหลักการทางวิทยาศาสตร์และ
 บัณฑิตต้องประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านวิศวกรรมศาสตร์และวัสดุศาสตร์ในการคัดเลือกวัสดุ   ทางวิศวกรรม โดยมุ่งเน้นการป้องกันและแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อม เช่น ปัญหาน�้าเสีย ปัญหา
 พอลิเมอร์ให้เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบ เลือกใช้เครื่องขึ้นรูปและวิธีการขึ้นรูปผลิตภัณฑ์   ขยะมูลฝอย ปัญหามลพิษทางอากาศ เป็นต้น ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบและควบคุมระบบ
 ที่เหมาะสม และสามารถถอดแบบผลิตภัณฑ์ออกเป็นแบบแม่พิมพ์ฉีดขึ้นรูปผลิตภัณฑ์และ  ผลิตน�้าอุปโภคและบริโภค ระบบสุขาภิบาลในอาคาร ระบบรวบรวมและบ�าบัดน�้าเสีย ระบบ
 เป็นแบบหัวรีดส�าหรับการอัดรีดผลิตภัณฑ์ประเภทท่อ เส้นใย และโปรไฟล์ เป็นต้น และ  ควบคุมมลพิษอากาศและเสียง ระบบการจัดการขยะมูลฝอย รวมทั้งระบบการจัดการ
 สามารถออกแบบการตรวจสอบและทดสอบสมบัติด้านต่าง ๆ ของผลิตภัณฑ์ ผู้ส�าเร็จ   สิ่งแวดล้อมในโรงงานอุตสาหกรรม (อาทิ ISO 14001 และเทคโนโลยีสะอาด) และการประเมิน
 การศึกษาสามารถเข้าท�างานในบริษัทหรือองค์กรระดับประเทศหรือระดับนานาชาติ  ผลกระทบสิ่งแวดล้อม (EIA)
    12.  วิศวกรรมไฟฟ้า  ศึกษาเกี่ยวกับหลักการที่จ�าเป็นต่อการวิเคราะห์และออกแบบ     17.  วิศวกรรมอากาศยาน เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทย
 ระบบไฟฟ้าก�าลัง เครื่องจักรกลไฟฟ้า ระบบควบคุมวงจรอิเล็กทรอนิกส์ อิเล็กทรอนิกส์ก�าลัง   ศึกษาองค์ความรู้ที่เกี่ยวข้องกับการเดินทางและขนส่งภาคอากาศ ระบบอากาศยานพาณิชย์
 การใช้พลังงานไฟฟ้าให้มีประสิทธิภาพและการประหยัดพลังงาน พลังงานทดแทนและพลังงาน  การซ่อมบ�ารุงอากาศยานและชิ้นส่วนขั้นสูง การผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน การออกแบบ
 ทางเลือก การออกแบบระบบผลิตและส่งจ่ายก�าลังงานไฟฟ้า ระบบจ่ายไฟฟ้าส�าหรับรถไฟ  อากาศยาน ระบบอากาศยานอัตโนมัติไร้คนขับ หุ่นยนต์ภาคอากาศ
    13.  วิศวกรรมยานยนต์ เป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมเป้าหมายของประเทศไทย ศึกษา     18.  วิศวกรรรมอิเล็กทรอนิกส์ เน้นการศึกษาเกี่ยวกับศาสตร์ทางด้านวิศวกรรม
 องค์ความรู้ด้านยานยนต์พื้นฐานและยานยนต์สมัยใหม่ เทคโนโลยีการออกแบบยานยนต์และ  อิเล็กทรอนิกส์ เพื่อให้รู้จริงและรู้ลึก โดยอิงกับความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่เกี่ยวกับการ
 ชิ้นส่วน การเพิ่มสมรรถนะยานยนต์ ต้นก�าลังยานยนต์ ระบบโรงงานอุตสาหกรรมยานยนต์  ออกแบบวงจรความถี่ต�่าและความถี่สูง อุปกรณ์เชิงแสงและโฟตอนนิกส์ การผลิตวัสดุอุปกรณ์
          และสร้างวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ใช้เทคโนโลยีระดับสูง เช่น การผลิตวงจรรวมความถี่สูงก�าลังสูง

 6                                                                           7




 Manual SUT 64.indd   6-7                                              9/4/2020   3:37:06 PM
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14