Page 23 - คู่มือรับนักศึกษาใหม่ 64
P. 23
6. ภูมิสารสนเทศ
การจัดำการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิต จ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 172 หน่วยกิต
ลักษณะวิชาชีพ เน้นการศึกษาโครงสร้างและองค์ประกอบของโลกทุกภาคส่วนโดยใช้
เทคโนโลยีที่ก้าวหน้าทันสมัย เช่น ดาวเทียมส�ารวจจากอวกาศ เครื่อง UAV ระบบ GIS/GPS
และแบบจ�าลองสถานการณ์ต่าง ๆ เพื่อแสวงหาข้อมูลที่ส�าคัญส�าหรับการศึกษาวิจัยหรือการ
ประยุกต์ในงานส�าคัญด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการพื้นที่หรือสถานการณ์
จ�าเพาะที่ส�าคัญ อาทิ การวางผังเมือง/ชนบท การพัฒนาภาคเกษตรอย่างยั่งยืน การบริหาร
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การจัดการปัญหาภัยพิบัติ/ภัยธรรมชาติรุนแรง
หรือการศึกษาการผันแปรของสภาพอากาศรุนแรง เป็นต้น ส�นักวิชาสาธารณสุขศาสตร์
ลักษณะวิชาที่ศึกษา โดยทั่วไปจะศึกษาเกี่ยวกับวิทยาการในการส�ารวจโลกจาก
ระยะไกลด้วยระบบที่ก้าวหน้าและทันสมัย อาทิ ดาวเทียมส�ารวจซึ่งโคจรอยู่ในอวกาศหรือ กลุ่มสาขาวิชาสาธารณสุขศาสตร์
อากาศยานไร้คนขับ (UAV) ซึ่งโคจรอยู่เหนือพื้นดิน รวมถึงศาสตร์ขั้นสูงของการบริหาร 1. อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
จัดการและการประยุกต์ข้อมูลเชิงพื้นที่ (spatial data) ซึ่งได้รับมาจากการส�ารวจดังกล่าว วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดำภัย จ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
และจากแหล่งข้อมูลอื่น ในการศึกษาวิจัยและการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ อย่างหลากหลาย 186 หน่วยกิต
โดยใช้เทคโนโลยี GIS ที่ก้าวหน้าและแบบจ�าลองเชิงพื้นที่ซึ่งมีประสิทธิภาพสูง เพื่อรองรับ วิชาเอกอาชีวอนามัยและความปลอดำภัย - วิชาโทความเป็นผู้ประกอบการ
การปฏิบัติงานของบุคคล/องค์กร และการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ ที่ส�าคัญต่อไป จ�นวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 198 หน่วยกิต
แนวทางการประกอบอาชีพส�หรับผู้จบการศึกษา สามารถประกอบอาชีพเป็น
นักวิชาการ นักวิชาชีพ หรือผู้เชี่ยวชาญด้านภูมิสารสนเทศประยุกต์ (Applied ศึกษาเกี่ยวกับหลักการป้องกันและควบคุมสภาพแวดล้อมให้มีความปลอดภัย
Geoinformatics) ประจ�าหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งในภาครัฐ/ภาคเอกชน หรือเป็นอาจารย์ ต่อการท�างาน โดยน�าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมสุขภาพและความปลอดภัยของ
ประจ�าหลักสูตรทางภูมิสารสนเทศหรือหลักสูตรอื่นที่สัมพันธ์กัน อาทิ การบริหารจัดการ ผู้ปฏิบัติงาน การป้องกันการเกิดอุบัติเหตุเนื่องจากการท�างาน การจัดสภาพแวดล้อมในการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การผังเมือง การบริหารจัดการภัยธรรมชาติรุนแรง ท�างานที่เหมาะสม เช่น แสง เสียง ความร้อน ฝุ่นละออง สารเคมี ให้เป็นไปตามกฎหมาย
การพัฒนาเมือง/ชนบท รวมถึงการประกอบอาชีพอิสระทางภูมิสารสนเทศหรือการประยุกต์ ที่เกี่ยวข้องก�าหนด เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานมีสุขภาพอนามัยสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจในการ
ข้อมูลเชิงพื้นที่ การศึกษาต่อในระดับบัณฑิตศึกษาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ความก้าวหน้าของตน ประกอบอาชีพ สร้างเสริมการเรียนรู้ด้วยทฤษฎีและการปฏิบัติจากประสบการณ์จริง รวมถึง
ต่อไป การปฏิบัติงานจริง ณ สถานประกอบการ เพื่อให้ผู้ศึกษาสามารถคิด วิเคราะห์ ค้นคว้า
หาค�าตอบ สังเคราะห์เป็นความรู้ความเข้าใจ และสามารถปฏิบัติได้จริง เป็นการลดความ
สูญเสียและค่าใช้จ่ายเนื่องจากการเกิดอุบัติเหตุและโรคจากการท�างานทั้งภาครัฐและเอกชน
ซึ่งเป็นบทบาทและหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการท�างาน
20 21
Manual SUT 64.indd 20-21 9/4/2020 3:37:09 PM